SSRPCA
Home
(current)
เกี่ยวกับเรา
โครงสร้างคณะ
คณาจารย์
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
วารสารอาชญาวิทยาและสังคมศาสตร์
IRB
ผลการเรียนหลักสูตรฯ
คณะสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ
Faculty of Social Sciences
คณาจารย์
ผศ.พ.ต.ท.ดร.ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์อาจารย์(สบ3)คณะสังคมศาสตร์
: theeravutn@yahoo.com
: 03-431-2009 ต่อ 411
คุณวุฒิ/ผลงานทางวิชาการ
คุณวุฒิ -ปร.ด. (การเมืองการปกครอง) ม.รามคำแหง, 2559 -ศศ.ม. (สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา) มรภ.ธนบุรี, 2547 -รป.ม.(รัฐประศาสนศาสตร์) ม.รามคำแหง, 2557 -บธ.ม.(บริหารธุรกิจ) รามคำแหง, 2557 -ร.ม. (การเมืองการปกครอง) ม.ธรรมศาสตร์, 2563 -รป.บ.(การตำรวจ), 2542 -น.บ.(นิติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 -ร.บ. (การเมืองการปกครอง) ม.รามคำแหง, 2562 -ศศ.บ.(ไทยคดีศึกษา) ม.สุโขทัยธรรมาธิราช, 2564 -บธ.บ.(การจัดการงานโรงแรม) ม.รามคำแหง, 2565 - อาจารย์ผู้สอนวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา เศรษฐกิจกับวิถีชีวิต การเป็นพลเมือง มนุษย์สัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับตำรวจ และวิชาอาเซียนศึกษาและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ หลักสูตรนักเรียนนายร้อยตำรวจ - อาจารย์ผู้สอนและผู้ผิดชอบรายวิชาการต่อต้านทุจริตคอร์รัปชัน หลักสูตรตามแนวทางรับราชการกลุ่มทหารและตำรวจ จำนวนไม่น้อยกว่า ๑๒ ชั่วโมง โดยใช้รูปแบบการบรรยายพิเศษหรือใช้สื่อประกอบการเรียนการสอนแก่กลุ่มตำรวจนำไปใช้ในการฝึกอบรมที่เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้น แก่หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๖๐ ถึงปัจจุบัน - อาจารย์ผู้สอนวิชามนุษย์สัมพันธ์และจิตวิทยาสำหรับตำรวจ หลักสูตรการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจและบุคคลที่บรรจุหรือโอนมาเป็นข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร - คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน สาขาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและการบังคับใช้กฎหมาย - อาจารย์ผู้สอนวิชาการบังคับใช้กฎหมายและการควบคุมทางสังคมในยุคสมัยใหม่ การสัมมนานิติจิตวิทยา พฤติกรรมเบี่ยงเบนการกรทำผิดของเด็กและเยาวชน และวิชาการวิจัยเชิงคุณภาพและการผสานวิธีในการศึกษาทางอาชญาวิทยาและการบังคับใช้กฎหมาย - อาจารย์ผู้สอนวิชาการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ, วิชารัฐธรรมนูญและสถาบันการเมือง วิชากฎหมายอาญา 2, กฎหมายอาญา 1, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป, กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๑, ๒ และวิชาการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สาขารัฐศาสตร์ วิทยาลัยวิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา - อาจารย์ผู้สอนวิชาพฤติกรรมเบี่ยงเบนการกระทำความผิดในกลุ่มเปราะบาง หลักสูตรเจ้าหน้าที่ป้องกันปราบปรามยาเสพติด (จปส.) พ.ศ.๒๕๖๔, ๒๕๖๕ - กรรมการสภาคณาจารย์ วาระ พ.ศ. 2562-256๔ - ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธิการ คณะที่ ๒ ในคณะกรรมาธิการ การป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๓-๒๕๖๖ - อดีตหัวหน้ากลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ - วิทยากรบรรยาย หลักสูตรต่อต้านทุจริตศึกษา ตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564) แก่ บริษัท ช.การช่าง จำกัด (มหาชน) - วิทยากรบรรยาย หลักสูตรต่อต้านทุจริตศึกษา ตามยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครับเอกชน บริษัท เคซีอี เทคโนโลยี จำกัด นิคมอุตสาหกรรมไฮเทค อยุธยา พ.ศ.๒๕๖๕ - วิทยากรบรรยาย หลักสูตรต่อต้านทุจริตศึกษา การจัดการองค์กรอย่างมีธรรมาภิบาล พ.ศ.๒๕๖๖ บทความวิจัย ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์ และ กัญญ์ฐิตา ศรีภา. (๒๕๖๒). สภาพการณ์ความรุนแรงในครอบครัวและการพัฒนาบทบาทหน้าที่ตำรวจในการรับมือปัญหาความรุนแรง : ศึกษาเฉพาะกรณีกองบังคับการตำรวจนครบาล ๙. วารสารพยาบาลตำรวจ. 11(๒), ๓๒๖-๓๓๘. (TCI 1) ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์ และ กัญญ์ฐิตา ศรีภา. (๒๕๖๓). บทบาทตำรวจในการบูรณาการความร่วมมือเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการใช้ความรุนแรงของเด็กและเยาวชน. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. ๒๖(๑). ๑-๒๓. (TC I ๑) ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์. (2563). แนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนด้านการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ ของผู้ต้องหาเพื่อให้สอดรับตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช 2560 : ศึกษาเฉพาะกรณีพนักงานสอบสวนในกองบังคับการตำรวจนครบาล 9. เอกสารประชุมวิชาการ รัฐประศาสนศาสตร์ ระดับชาติ ครั้งที่ 10. สมาคมรัฐประศานศาสตร์แห่งประเทศไทยร่วมกับมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อำนาจ ขุมทอง, ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์ และเสกสัณ เครือคำ. (2565). สภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาการฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของสำนักงานคุมประพฤติ กรุงเทพมหานคร 1. วารสารปัญญาปณิธาน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (TCI 2) Ninphet, T., & Sripa, K. (2023). Measures to Promote Creative and Safe Online Games for Children and Youth Through a Collaboration Network. Rajabhat Chiang Mai Research Journal, 24(1). 72-91. https://doi.org/10.57260/rcmrj.2023.261694 (ACI) (ทุน วช.) Sripa, K. & Ninphet, T., (202๔). Cyberbullying among Children and Youth in Thailand: Measures to Combat it. Community and Social Development Journal, 2๕(1). ๑๐๓-๑๒๐. https://doi.org/10.57260/rcmrj.202๔.261694 (ACI) (ทุน วช.) บทความวิชาการ ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์. (๒๕๖๑). ความรุนแรงในครอบครัว : วิเคราะห์สาเหตุและแนวทางป้องกันปัญหาในสังคมไทย” วารสารพฤติกรรมศาสตร์. ๒๔(๒). ๑-๑๙. (TCI 1) ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์. (๒๕๖๓). มุมมองด้านอาชญาวิทยาในการลงโทษผู้กระทำความผิดซ้ำในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาปัญหาในสังคมไทย. เอกสารประชุมวิชาการ ระดับชาติ เพื่อนำเสนอผลงานวิจัยและวิชาการ สาขานิติวิทยาศาสตร์ กฎหมาย อาชญาวิทยาและการบริหารงานยุติธรรม ประจำปี พ.ศ. 2563 รายงานวิจัย - กัญญ์ฐิตา ศรีภา, ยงยุทธ แสนประสิทธิ์, ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์, ศิพร โกวิท และ สาลินี ขจรไพร. (๒๕๖๖). โครงการสำรวจความเชื่อมั่นของประชาชนผู้รับบริการที่มีต่อกระบวนการบังคับคดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๖. กรุงเทพฯ: กรมบังคับคดี. (ทุนกรมบังคับคดี) - งานวิจัยเรื่อง “การประเมินผลผลิตนายร้อยตำรวจหญิง โรงเรียนนายร้อยตำรวจ” ทุนอุดหนุนวิจัยจากโรงเรียนนายร้อยตำรวจ พ.ศ.2561 - รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ “โครงการศึกษาวิจัยเพื่อส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายสังคมสมานฉันท์” ทุนสนับสนุน สำนักงานคณะกรรมการเสริมสร้างความสมานฉันท์แห่งชาติ กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.๒๕๖๔ - รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ “การบูรณาการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมและกำกับดูแลความปลอดภัยจากการกลั่นแกล้งทาง ไซเบอร์ในกลุ่มเด็กและเยาวชน” ทุนสนับสนุน สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พ.ศ.๒๕๖๕ - รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ “สถานศึกษาต้นแบบสานพลังความร่วมมือยุติการใช้ความรุนแรงของนักเรียนนักศึกษา” ทุนสนับสนุน สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พ.ศ.๒๕๖๕ หนังสือ - ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร์. (2565). ความรุนแรงในครอบครัว. กรุงเทพฯ. แดแน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.